เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา1/2557 Topic:หน่วย Eat well live well - กินเป็นอยู่เป็น
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
มีความรู้ความเข้าใจต่ออาหาร สามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัยและกิน อยู่ อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งสามารถออกแบบการกินของอาหารในรูปแบบของตนเอง (นวัตกรรมและการนำไปใช้ )ได้

วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)

ภูมิหลังของปัญหา
     การเพิ่มจำนวนของประชากรโลกในปัจจุบันมีแนวโน้มสูงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ความต้องการบริโภคทรัพยากรก็เพิ่มมากขึ้นทุกด้าน ทําให้ความต้องการปัจจัยต่าง ๆ เพื่อการดํารงชีวิตเพิ่มตาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัย พลังงาน ฯลฯ และในปัจจุบันหลายพื้นทั่วโลกต้องประสบกับภาวะการขาดแคลนอาหาร อาหารไม่ปลอดภัยมีสารปนเปื้อน ดังนั้นการรู้จักเลือกรับประทาน
      อาหารที่มีความพอเหมาะต่อความต้องการของร่างกายจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความปลอดภัยและหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อนให้ได้มากที่สุด


คำถามหลัก (Big Question) : อาหารมีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างไร?


ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ (PBL) หน่วย : "Eat well live well - กินเป็นอยู่เป็น " 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





12 - 14
โจทย์
การตรวจสอบไขมัน และการลดน้ำหนักในระยะเวลา 1 เดือน
Key  Questions
- จากการทดลองหยดน้ำมันลงในแผ่นกระดาษ นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนอย่างไร
- นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเอง ในระยะเวลา 1 เดือน ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-                    - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- ภาพไทม์ไลน์ของคนจากอดีตมาสู่อนาคต โรคอ้วน
- กระดาษสีขาวบาง
- น้ำมันพืช
- อุปกรณ์ทดลอง
-  นักเรียนนำเสนอสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
- นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลให้คนในอดีตร่างกายแข็งแรง และคนในยุคปัจจุบันมีร่างกายที่เต็มไปด้วยไขมัน(โรคอ้วน) place mat
- เขียนweb เชื่อมความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัย
ที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วน
- ทดลองหยดน้ำมันพืช 2-3 หยด ลงบนกระดาษ แล้วเกลี่ยหยดน้ำมันให้กระจาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- พูดคุยถึงมีวิธีทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน(น้ำมัน) อย่างไร
-  สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
ชิ้นงาน
- ออกแบบตารางการควบคุมปริมาณอาหารไขมัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบไขมัน และการวิเคราะห์อาหารประเภทไขมัน ที่มีความเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้ รวมทั้งเข้าใจระบบการทำงานของหัวใจ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอวิธีการลดปริมาณอาหารประเภทไขมันและการออกกำลังกาย 1 เดือน เพื่อลดน้ำหนัก
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





15 - 17
โจทย์
สารอาหารวิตามินและเกลือแร่ และกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่ กระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
Key  Question
- นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-                    -  เกมผัก ผลไม้นานาชนิด
-                    - ภาพประโยชน์สารอาหารวิตามินและเกลือแร่
-                    - คอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหาร
- ครูพานักเรียนเลนเกมเกี่ยวกับผลไม้ชวนคิด
-  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มละเท่าๆ กัน ครูแจกกระดาษปรู๊ฟให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนจัดหมวดหมู่รสชาติผลไม้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?”
- ครูชวนคุยเกี่ยวกับประโยชน์จากอาหารประเภทผักผลไม้
- นักเรียนสร้างชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น การ์ตูนช่อง ,  fort chart , Mind mapping ฯลฯ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- เล่นเกมผัก ผลไม้ชวนคิด
- สืบค้นข้อมูลการตรวจสอบสารอาหาร
- อภิปรายกระบวนการตรวจสอบ
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- สร้างชิ้นงานกระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับอาหารที่จัดอยู่ในประเภทวิตามินและเกลือแร่ ประโยชน์จากอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่ที่ค่อยช่วยเป็นตัวเร่งและควบคุมปฏิกิริยาต่าง ๆ รักษาความสมดุลของกรด ด่าง และน้ำในร่างกาย ช่วยในการรับ-ส่งประสาทความรู้สึก ควบคุมการรัดหดตัวของกล้ามเนื้อ ตลอดจนช่วยในการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมเกมผัก ผลไม้และนำเสนอวิธีการตรวจสอบสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
........................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





18
โจทย์
- การเลือกซื้อ
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
Key  Questions
- นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าเครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความเกี่ยวข้องกับอาหารที่เราเลือกซื้อมารับประทานอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-                    - ภาพเกี่ยวกับผู้ซื้อ เลือกอาหารตามท้องตลาด
-                    - ภาพสัญลักษณ์ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- คอมพิวเตอร์
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
- นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้อสิ้นค้าอย่างปลอดภัย
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.  มีความสำคัญอย่างไรกับผู้บริโภค
ชิ้นงาน
- place mat      การเลือกซื้ออาหารอย่าง
ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
- ชาร์ตเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจการเลือกซื้ออาหารอย่างมีวิจารณญาณ และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมการเลือกซื้ออาหารอย่างปลอดภัย และอภิปรายกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





19 - 20
โจทย์
- นำเสนอโดยสารคดี หนังสั้น เพลง
- จัดนิทรรศการอาหารสุขภาพ จัดแสดงผลิตภัณฑ์สินค้า(เปิดตลาด)
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าจะนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนมาตลอด 18 สัปดาห์ ในรูปแบบใด
- นักเรียนจะทำอาหารอะไรบ้าง เพื่อมาเปิดตลาดจัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เมนูอาหารต่างๆ
- รูปแบบการเปิดตลาด
- สินค้า

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
- นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสรุปชิ้นงานผ่านสารคดี หนังสั้น เพลง
- ช่วยกันคิดวางแผนการเปิดตลาด เพื่อจัดจำหน่ายสินค้า
- นักเรียนขายอาหารที่ร่มไผ่(เปิดตลาด)
ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้ผ่านสารดดี หนังสั้น เพลง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายได้เกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้ที่เรียนมาถ่ายทอดผ่านสารคดี หนังสั้น เพลง ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมออกแบบพื้นที่จัดจำหน่ายอาหารบริเวณร่มไผ่
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด
.............................
Week
Input
Possess
Output
Outcome
PBL คู่ขนาน





21
โจทย์
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- ประเมินตนเอง
Key  Question
นักเรียนจะสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)อย่างไร
จัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
 Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- กระดาษA3 , A4
- สี ปากกา ไม้บรรทัด
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)อย่างไร
- นักเรียนเขียนสรุป Mind Mapping(หลังเรียน) และตอบคำถามสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสรุปการประเมินตนเอง สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่จะนำไปพัฒนาตัวเองเพิ่มเติมในภาคเรียนหน้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- นักเรียนเขียน Mind Mapping(หลังเรียน)
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียน เขียนประเมินตนเองตลอด 1 ภาคเรียน
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Mind Mapping(หลังเรียน)
- เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถสรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้(หลังเรียน)
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ปลูกข้าว 4 เมล็ด ให้ได้ 2,000 เมล็ด
  ในพื้นที่จำกัด



ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “Eat well live well – กินเป็นอยู่เป็น” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 /2557
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น  ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต 
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย

มาตรฐาน ว 1.1
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1 ม.1/7)
-  สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท    ระบบย่อยอาหาร    ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)

มาตรฐาน ศ 1.1
- สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้ (ศ 1.1 .1/1)
- สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
( ศ 1.1ม.1/2)
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
มาตรฐาน พ 1.1
- สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น  ระบบประสาท   ระบบต่อมไร้ท่อ 
 ระบบทางเดินหายใจ    ระบบขับถ่าย       ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ  ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 .1/1)
 - สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ 1.1 .1/2)
สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้    (พ 1.1 ม.1/3, 4)
มาตรฐาน ง 1.1
- สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ     
  (ง 1.1 ม.1/2)
 - สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้  (ง 1.1 ม.2/1)
สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
 นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้           (ส 2.1 ม.1/4)

..........
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา



และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO  การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้  (ศ 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
- สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
-  สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้          
 (พ 1.1 ม.2/1)
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ 1.1.2/2)
สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้  (พ 1.1 .3/1)
- สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้  (พ 1.1 .4-6/2)
- สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
  (พ 2.1.1/1)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้ 
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
 (ง 3.1 ม.1/2)
สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  (ส 3.1 ม.1/2)
















....................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
 - ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
- วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
- กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์




มาตรฐาน ว 8.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล  
(ว8.1 ม.2/1 )
นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้  (ว 8.1 ม.1/4)
สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 3.2
- ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)





มาตรฐาน 1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)







มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)


มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)

มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
 นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้           (ส 2.1 ม.1/4)

เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา





มาตรฐาน ว 3.1
สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร  (ว3.1ม.1/2)
สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้  (ว3.1ม.1/1)
สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
 (ว3.1ม.1/3)






มาตรฐาน ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  (ส 3.1 ม.1/2)

- หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
กระบวนการผลิตอาหารสัตว์  และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ

มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ  (ว2.1ม.3/1)


มาตรฐาน 1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)


มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)

..................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง

ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)


จิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
 นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้           (ส 2.1 ม.1/4)
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1
- ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์     ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
- อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์     ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7)    -ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)   

มาตรฐาน 1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)



มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)


มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
 (ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
 นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
..................
เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา

 - สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช
(ว1.1ม.1/9)   
- ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช (ว1.1ม.1/10)      - อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)     
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)

มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)

การทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้           (ส 2.1 ม.1/4)

...............